เว็บไซต์สำหรับเก็บผลงานประเมิน PA
นางสาวญาณาภรณ์ บุญปก
ตำแหน่ง ครู
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)๒
ปีการศึกษา 2567
เว็บไซต์สำหรับเก็บผลงานประเมิน PA
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 16.66 ชั่วโมง - นาที/สัปดาห์ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 7.5 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาวิทยาศาสตร์อัจฉริยภาพ จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศพื้นฐาน จำนวน 1.66 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศเพิ่มเติม จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- กิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ จำนวน 50 นาที/สัปดาห์
- กิจกรรมชุมนุม จำนวน 50 นาที/สัปดาห์
- กิจกรรมสาธารณประโยชน์ จำนวน 50 นาที/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 6 ชั่วโมง - นาที/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 11 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 1 ชั่วโมง - นาที/สัปดาห์
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 17.48 ชั่วโมง - นาที/สัปดาห์ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาวิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 2.5 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาวิทยาศาสตร์อัจฉริยภาพ (ดาราศาสตร์) จำนวน 3.33 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศพื้นฐาน จำนวน 3.33 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศเพิ่มเติม จำนวน 1.66ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- กิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ จำนวน 50 นาที/สัปดาห์
- กิจกรรมชุมนุม จำนวน 50 นาที/สัปดาห์
- กิจกรรมสาธารณประโยชน์ จำนวน 50 นาที/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 6 ชั่วโมง - นาที/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 11 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 1 ชั่วโมง - นาที/สัปดาห์
1) นักเรียนร้อยละ 80 มีผลงานที่แสดงถึงความคิดรวบยอด
2) นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ได้รับการซ่อมเสริม และปรับปรุงผลการเรียนให้ดีขึ้นไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 ของนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์
เป้าหมายคุณภาพ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 2 ห้อง รวมจำนวนนักเรียนทั้งหมด 80 คน
มีความคิดรวบยอด เรื่อง การแยกสาร สามารถปรับประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและการทำแบบทดสอบได้
ประเด็นท้าทายเรื่อง การสร้างความคิดรวบยอด
เรื่อง การแยกสาร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เป้าหมายเชิงปริมาณ
มีการจัดทำรายวิชาและหน่วยการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร
ปีการศึกษา 2567
ออกแบบหน่วยการเรียนรู้โดยการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ท้องถิ่น และเหมาะกับผู้เรียน
ปีการศึกษา 2566
สร้างและพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้สอดคล้องกับกิจกรรม
การเรียนรู้ผู้เรียนมีกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับสื่อ นวัตกรรม
ปีการศึกษา
2566-2567
ผังความก้าวหน้าม.4
การใช้ผังความก้าวหน้า
ในการบันทึกคะแนนการเรียนรู้
ใช้กระบวนการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อ
คุณภาพผู้เรียน
2.1 จัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา
กระดานข้อมูลนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1
กระดานข้อมูล ม.2/2
มีการจัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา เพื่อใช้ในการ
ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
กระดานบันทึกการบ้าน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1
กระดานการบ้าน
2.2 ดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียนรายบุคคลและประสาน
ความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาผู้เรียน
2.3 ปฏิบัติงานวิชาการและงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา
ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และงานอื่น ๆ ของสถานศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
การจัดทำรายงานและผลการดำเนินงานของโรงเรียนและกลุ่มบริหารงานบุคคล
3.3 นำความรู้ความสามารถทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองฯ
3.1 พัฒนาตนเอง
อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่ง การใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
การเข้าร่วมอบรมและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
3.2 มีส่วนร่วมในการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ
การมีส่วนร่วมชุมชนการเรียนรู้ PLC
ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
การเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ของกลุ่มสาระการเรียนรู้
นำองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้
การเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ของกลุ่มสาระการเรียนรู้